Skip to content

เจาะแนวคิด Learn to Earn ในงานด้านศิลปะ ผ่านมุมมองของรุ่นพี่ยุวศิลปินไทย ผู้ประสบความสำเร็จบนเส้นทางที่เลือกแล้ว

มูลนิธิเอสซีจี สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนรู้จักและเข้าใจถึงแนวคิด Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด ด้วยการนำทักษะที่มีทั้ง Hard Skill และ Soft Skill มาใช้ในแต่ละโอกาส เพื่อให้อยู่รอดได้ในโลกยุคปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งที่ผ่านมามูลนิธิฯ ได้ให้การสนับสนุนและต่อยอดความรู้ความสามารถของเด็กและเยาวชนไทย เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะในทุกด้าน โดยเฉพาะการเรียนรู้และการพัฒนาที่จะต้องทำตลอดชีวิต เพื่อที่จะสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ตลอดเวลา

มูลนิธิเอสซีจี เปิดโลก Learn to Earn ด้านศิลปะจากเหล่าศิลปินดาวรุ่งในงานครบรอบ 20 ปี Young Thai Artist Award

มูลนิธิเอสซีจี ส่งเสริมแนวคิด Learn to Earn เรียนรู้ เพื่ออยู่รอด ผ่านโครงการยุวศิลปินไทย Young Thai Artist Award ที่ศิลปินสามารถผสมผสานทักษะ Hard Skill และ Soft Skill ในการสร้างชิ้นงานศิลปะจนประสบความสำเร็จในชีวิต

มูลนิธิเอสซีจี ชวนร่วมฉลอง 20 ปี Young Thai Artist Award พบตัวจริงเสียงจริงแห่งวงการศิลปะ พร้อมร่วมยินดีกับยุวศิลปินหน้าใหม่แห่งปี

มูลนิธิเอสซีจี เชิญชวนผู้สนใจในงานศิลปะ ร่วมงาน Young Thai Artist Award 2024 ในวันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2567 ตั้งแต่เวลา 13.00-17.00 น. ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยมีหลากหลายกิจกรรมดังนี้

เรียน…รู้…รอด​ Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด โดย มูลนิธิเอสซีจี

เรียน…รู้…รอด 📌เรียนอย่างไร 📌รู้อะไร 📌รอดแบบไหน พบกับเรื่องราวของ 3 คนรุ่นใหม่ กับเส้นทางการเติบโต โดยการค้นหาเส้นทางชีวิตที่เหมาะกับตัวเอง ล้มแล้วก็ลุกได้ พร้อมเรียนรู้และไปต่อ

เปิดประสบการณ์เยาวชนไทย จากสนามแข่งระดับโลก ใช้ทักษะรอบตัวทั้ง Hard Skill และ Soft Skill

จากความมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนเยาวชนไทยในการพัฒนาทักษะและประสบการณ์ในสายอาชีพ เพื่อให้ตอบโจทย์การใช้ชีวิตในโลกยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา นอกจากที่มูลนิธิเอสซีจีให้การสนับสนุนเรื่องทุนการศึกษาแล้ว ยังสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานมาอย่างต่อเนื่อง

อนันตญา ชินวงศ์ (ฟ้าใส)

มองสิ่งที่ตัวเองมีแล้วนำไปพัฒนาต่อ สิ่งนั้นจะทำให้เรามีความรู้เกี่ยวกับมันมากขึ้น เราอาจจะรักมันโดยไม่รู้ตัว แล้วทำมันได้ดี และประสบความสำเร็จได้

ณัฐพงศ์ เมืองมาน้อย (ฟิวส์)

ตอนที่เห็นย่าป่วยช่วยเหลือตัวเองลำบาก ผมคิดว่าอยากเรียนอะไรที่ได้ช่วยเหลือผู้ป่วย ผมจึงเลือกเรียนสาขากิจกรรมบำบัด จบแล้วเป็นนักกิจกรรมบำบัดตามโรงพยาบาล เป็นอาชีพที่รายได้ดี มั่นคง ถือเป็นการเลือกเรียนรู้ เพื่ออยู่รอด เพราะเป็นอาชีพใหม่และเป็นที่ต้องการในอนาคต

ศักดิ์ชัย นามเหลา (อ้น)

เพราะกล้าที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง กล้าจะออกจาก Comfort Zone ทำให้เดินผ่านความทุกข์ยากจนมาถึงจุดนี้ จุดที่ตัวเองยิ้มอย่างมีความสุข และภาคภูมิใจได้สำเร็จ เพราะโอกาสเป็นของคนที่มีความพยายามเสมอ

ณัฐฐิณี เสมอ (เอิร์น)

ทุกครั้งที่พบเจอปัญหา หนูพยายามให้กำลังใจตัวเองและคิดบวก เพราะคิดว่าถ้าเรามองโลกในแง่บวก อย่างน้อยมันก็ช่วยเติมพลังและช่วยให้มีแรงจัดการกับสถานการณ์ที่ตึงเครียดได้ดีกว่าค่ะ

ธรรมรัฐ มูลสาร (เอิร์ธ)

จากเด็กวัยรุ่นที่ตระหนักรู้ว่าตัวเองเรียนไม่เก่ง จึงมุ่งหาคำตอบและทางรอดของชีวิตเพื่ออนาคตของตนเองจนสุดท้าย น้องเอิร์ธ ธรรมรัฐ มูลสาร ได้พบโอกาสและเริ่มต้นธุรกิจด้วยวัยเพียง 21 ปี กับการสร้างโรงตีมีดในพื้นที่บ้านเกิดที่จังหวัดขอนแก่น